Skip to main content
All Collectionsการสร้างเอกสารสำหรับผู้เริ่มใช้งาน PEAK Accountรายจ่าย
หัก ณ ที่จ่ายออกแทน(กรณีออกให้ตลอดไป) (NE026)
หัก ณ ที่จ่ายออกแทน(กรณีออกให้ตลอดไป) (NE026)
Racha Soracha avatar
Written by Racha Soracha
Updated over 2 months ago

การคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายแต่ละประเภท

เงื่อนไขการหักภาษี

ค่าบริการ

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ผู้ให้บริการได้รับเงิน

หัก ณ ที่จ่าย

10,000.00

300.00

9,700.00

ออกให้ครั้งเดียว

10,300.00

309.00

9,991.00

ออกให้ตลอดไป

10,309.28

309.28

10,000.00

หมายเหตุ

  • กรณีค่าใช้จ่ายนี้มีสัญญาระบุชัดเจนว่ามีการออกหัก ณ ที่จ่ายแทนให้ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของนิติบุคคลได้

    • สามารถบันทึกบัญชีด้วยผังบัญชีค่าใช้จ่ายตามปกติ

  • กรณีค่าใช้จ่ายนี้ไม่มีสัญญา หรือในสัญญาไม่ได้ระบุไว้ ถือว่าออกให้โดยเสน่หา ผิดตามมาตรา 65 ตรี (3)

    • จะต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายต้องห้าม

การบันทึกรายการจ่าย กรณีที่มีหัก ณ ที่จ่ายแทน กรณีที่เป็นการออกให้ตลอดไป สามารถทำตามขั้นตอนได้ดังนี้

ตัวอย่างที่ 1 (แบบไม่มี VAT)
จ่ายค่าบริการ จำนวน 10,000 บาท ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

สูตรคำนวณ = จำนวนเงินได้ที่จ่าย x อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย / (100 - อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย)​

วิธีการคำนวณ

1.ภาษีหัก ณ ที่จ่ายตามอัตราปกติ

10,000 x 3/(100-3) = 309.28 บาท

2.เงินได้ที่ถือเป็นฐานในการคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย
10,000 (ค่าบริการ) + 309.28 (หัก ณ ที่จ่ายตามอัตราปกติ) = 10,309.28 บาท

3.นำตัวเลขที่ได้จากข้อ 2 คูณอัตราภาษี 3% จะได้ภาษีหัก ณ ที่จ่ายออกแทน

10,309.28 x 3% = 309.28 บาท

4.จำนวนเงินที่ผู้ให้บริการจะได้รับจริง

10,309.28 - 618.568 = 10,000 บาท

กรณีที่ 1 ค่าใช้จ่ายนี้มีสัญญาระบุชัดเจนว่ามีการออกหัก ณ ที่จ่ายแทนให้ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของนิติบุคคลได้ (สามารถบันทึกบัญชีด้วยผังบัญชีค่าใช้จ่ายตามปกติ)

บันทึกรายการและระบุตัวเลข ตามรูปภาพด้านล่าง

เลือกช่องทางการจ่ายเงิน กดเลือกเงื่อนไขการหักภาษี และอนุมัติเอกสาร

ตรวจสอบการบันทึกบัญชี

ตัวอย่างการบันทึกบัญชี

ตรวจสอบหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย
เลือกข้อมูลการชำระ > พิมพ์ใบหัก ณ ที่จ่าย

หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
ช่องจำนวนเงินที่จ่าย = 10,309.28 บาท
ช่องภาษีที่หักและนำส่งไว้ = 309.28 บาท

กรณีที่ 2 ค่าใช้จ่ายนี้ไม่มีสัญญา หรือในสัญญาไม่ได้ระบุไว้ ถือว่าออกให้โดยเสน่หา ผิดตามมาตรา 65ตรี (3) (จะต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายต้องห้าม)

บันทึกรายการและระบุตัวเลข ตามรูปภาพด้านล่าง

เลือกช่องทางการจ่ายเงิน กดเลือกเงื่อนไขการหักภาษี และอนุมัติเอกสาร

ตรวจสอบการบันทึกบัญชี

ตัวอย่างการบันทึกบัญชี

ตรวจสอบหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย
เลือกข้อมูลการชำระ > พิมพ์ใบหัก ณ ที่จ่าย

หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
ช่องจำนวนเงินที่จ่าย = 10,309.28 บาท
ช่องภาษีที่หักและนำส่งไว้ = 309.28 บาท

ตัวอย่างที่ 2 (แบบมี VAT)
จ่ายค่าบริการ จำนวน 20,000 บาท มี Vat 7% ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

สูตรคำนวณ = จำนวนเงินได้ที่จ่าย x อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย / (100 - อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย)

วิธีการคำนวณ

1.ภาษีหัก ณ ที่จ่ายตามอัตราปกติ

10,000 x 3/(100-3) = 309.28 บาท

2.เงินได้ที่ถือเป็นฐานในการคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย
10,000 (ค่าบริการ) + 309.28 (หัก ณ ที่จ่ายตามอัตราปกติ) = 10,309.28 บาท

3.นำตัวเลขที่ได้จากข้อ 2 คูณอัตราภาษี 3% จะได้ภาษีหัก ณ ที่จ่ายออกแทน

10,309.28 x 3% = 309.28 บาท

4.ยอด VAT

10,000 X 7% = 700 บาท

5.จำนวนเงินที่ผู้ให้บริการจะได้รับจริง

10,309.28 + 700 - 309.28 = 10,700 บาท

กรณีที่ 1 ค่าใช้จ่ายนี้มีสัญญาระบุชัดเจนว่ามีการออกหัก ณ ที่จ่ายแทนให้ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของนิติบุคคลได้ (สามารถบันทึกบัญชีด้วยผังบัญชีค่าใช้จ่ายตามปกติ)

บันทึกรายการและระบุตัวเลข ตามรูปภาพด้านล่าง

เลือกช่องทางการจ่ายเงิน กดเลือกเงื่อนไขการหักภาษี และอนุมัติเอกสาร

ตรวจสอบการบันทึกบัญชี

ตัวอย่างการบันทึกบัญชี

ตรวจสอบหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย
เลือกข้อมูลการชำระ > พิมพ์ใบหัก ณ ที่จ่าย

หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
ช่องจำนวนเงินที่จ่าย = 10,309.28 บาท
ช่องภาษีที่หักและนำส่งไว้ = 309.28 บาท

กรณีที่ 2 ค่าใช้จ่ายนี้ไม่มีสัญญา หรือในสัญญาไม่ได้ระบุไว้ ถือว่าออกให้โดยเสน่หา ผิดตามมาตรา 65ตรี (3) (จะต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายต้องห้าม)

บันทึกรายการและระบุตัวเลข ตามรูปภาพด้านล่าง

เลือกช่องทางการจ่ายเงิน กดเลือกเงื่อนไขการหักภาษี และอนุมัติเอกสาร

ตรวจสอบการบันทึกบัญชี

ตัวอย่างการบันทึกบัญชี

ตรวจสอบหนังสือ หัก ณ ที่จ่าย
เลือกข้อมูลการชำระ > พิมพ์ใบหัก ณ ที่จ่าย

หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
ช่องจำนวนเงินที่จ่าย = 10,309.28 บาท
ช่องภาษีที่หักและนำส่งไว้ = 309.28 บาท

- จบขั้นตอนการทำรายการ หัก ณ ที่จ่ายออกแทน(กรณีออกให้ตลอดไป) -

คู่มืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำรายการ หัก ณ ที่จ่ายออกแทน(กรณีออกให้ตลอดไป)

Did this answer your question?